Page 18 - เล่มสมบูรณ์ รายงานประจำปี 2562
P. 18
รายงานประจำปี งานประกันคุณภาพและประเมินผล งปม.2562 หน้า11
Process Strength
1) มหาวิทยาลัยฯ มีระบบการน าองค์กรที่ชัดเจน โดยพบว่ามีการก าหนดวิสัยทัศน์ รูปแบบการ
ขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาองค์กรที่สอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปีผ่านการก าหนด 3 cluster
เพื่อให้แต่ละวิทยาเขตเป็นผู้รับผิดชอบขับเคลื่อนตามบริบทที่ส าคัญของแต่ละพื้นที่ มีการก าหนดเป้าหมายและ
Reposition มีผู้รับผิดชอบการจัดท าแผนระยะยาว 5 ปี ทั้งระดับมหาวิทยาลัยและหน่วยงานภายใน การมีแนว
ทางการน าองค์กรดังกล่าวจะช่วยให้องค์กรบรรลุผลตามวิสัยทัศน์ที่ก าหนดไว้
2) มหาวิทยาลัยฯ มีแนวทางการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ 4 ด้าน ได้แก่ ผลิตบัณฑิตนักปฏิบัติที่
สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ สร้างความเข้มแข็งของงานวิจัย พัฒนาและการต่อยอดสู่นวัตกรรมอย่างมี
ประสิทธิภาพ เสริมสร้างชุมชนนวัตกรรม (Communities of Innovation) เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตและ
รายได้ของชุมชนในพื้นที่ และปฏิรูประบบบริหารจัดการมหาวิทยาลัยฯ ไปสู่ความเป็นเลิศในยุคดิจิทัล โดยการ
ถ่ายทอดแผนและน าไปสู่การปฏิบัติโดยการลงนามค ารับรองปฏิบัติราชการระหว่างอธิการบดีและผู้บริหารและ
ผู้รับผิดชอบระดับปฏิบัติการ การด าเนินการดังกล่าวช่วยส่งเสริมองค์กรให้มุ่งสู่ความส าเร็จตามวิสัยทัศน์ที่
ก าหนดไว้
3) มหาวิทยาลัยฯ เริ่มมีแนวทางการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และการจัดการความรู้ เช่น การจัดการ
ประชุมร่วมระหว่างคณบดีทั้ง 11 คณะ และการจัดกิจกรรมการประกวด KM ระหว่างวิทยาเขต การมีแนวทาง
ดังกล่าวช่วยให้องค์กรตอบสนองความท้าทายเชิงกลยุทธ์ด้านการพัฒนาสมรรถนะและคุณภาพของบุคลากรให้
สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงในแต่ละด้านที่จะเกิดขึ้นในอนาคต
4) มหาวิทยาลัยฯ มีแนวทางที่ชัดเจนในการออกแบบหลักสูตรและบริการวิชาการที่มุ่งเน้นการ
ผลิตบัณฑิตนักปฏิบัติโดยใช้สมรรถนะหลักขององค์กรที่ส าคัญ ได้แก่ การมีคณาจารย์ที่มีประสบการณ์และ
ทักษะด้านวิชาชีพ และผลิตผลงานวิจัยที่สามารถน าไปใช้ประโยชน์และถ่ายทอดองค์ความรู้สู่ชุมชน ร่วมทั้งการ
ใช้พันธมิตรทั้งหน่วยงานภาครัฐและเอกชนมาร่วมในการจัดการระบบปฏิบัติการ การเรียนการสอน และการ
บริการวิชาการ การมีแนวทางที่ชัดเจนดังกล่าวส่งเสริมให้องค์กรบรรลุผลตามพันธกิจที่ส าคัญด้านจัดการศึกษา
ระดับอุดมศึกษาเพื่อผลิตบัณฑิตนักปฏิบัติ บนพื้นฐานด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ที่มีคุณภาพตาม
มาตรฐาน สอดคล้องกับความต้องการของผู้รับบริการ และด้านการบริการวิชาการและถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่
สังคมเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน
Process OFI
1) ไม่พบการก าหนดวัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ที่ตอบสนองต่อความท้าทายเชิงกลยุทธ์และการ
เปลี่ยนแปลงที่ส าคัญเพื่อน าไปสู่การก าหนดแผนปฏิบัติการระยะสั้นและระยะยาว การก าหนดเป้าหมายและ
ตัวชี้วัดที่สามารถวัดความส าเร็จตามวัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ การก าหนดวัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ที่ครอบคลุม
ประเด็นที่ส าคัญอย่างครบถ้วนเพื่อก ากับติดตามให้เป็นไปตามเป้าหมายจะช่วยส่งเสริมให้องค์กรบรรลุวิสัยทัศน์
และการเป็นองค์กรอันดับ 1 ระหว่าง 9 สถาบัน
2) ไม่ชัดเจนถึงแนวทางในการพิจารณาการจัดสรรทรัพยากรอย่างไรในการสร้างความสมดุล
ระหว่างความต้องการที่หลากหลายของวิทยาเขตต่าง ๆ ทั้งบุคลากร/หน่วยงานภายใน และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
ภายนอก หรือผู้เรียน/ผู้รับบริการ เพื่อป้องกันการแย่งชิงทรัพยากรกันเอง เช่น ในกรณีที่ให้แต่ละวิทยาเขตเป็น
ผู้รับผิดชอบขับเคลื่อน Cluster ตามบริบทที่ส าคัญของแต่ละพื้นที่ รวมทั้งการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ 4 ด้าน
Annual Report of Quality Assurance and Assessment : fiscal year 2019