Page 19 - เล่มสมบูรณ์ รายงานประจำปี 2562
P. 19

รายงานประจำปี งานประกันคุณภาพและประเมินผล งปม.2562                     หน้า12


                  การมีแนวทางดังกล่าวที่ชัดเจนจะเสริมสร้างค่านิยมองค์กรในด้าน U unity, T Technology และ I
                  Innovation

                             3) ไม่ชัดเจนถึงแนวทางในการด าเนินงานด้านการมุ่งเน้นผู้เรียนและลูกค้ากลุ่มอื่น เช่น แนว

                  ทางการทบทวนทั้งกระบวนการรับฟังความต้องการ/ความคาดหวังของผู้เรียนและผู้รับบริการ และการประเมิน
                  ความพึงพอใจ ความไม่พึงพอใจ เพื่อให้ได้สารสนเทศที่ส าคัญที่จะน าไปใช้ประโยชน์ได้ โดยเฉพาะการน าไปเป็น

                  ปัจจัยน าเข้าในการวางแผนกลยุทธ์ การปรับปรุงกระบวนการต่าง ๆ ที่สร้างคุณค่าแก่ผู้เรียนและผู้รับบริการ
                  รวมถึงน าไปเป็นข้อก าหนดการพัฒนาบุคลากรเพื่อตอบสนองความต้องการของลูกค้า อีกทั้งกระบวนการ

                  เสาะหาสารสนเทศจากลูกค้ายังไม่ครอบคลุมทุกกลุ่ม โดยเฉพาะกลุ่มวิจัยและกลุ่มบริการวิชาการ รวมถึงผู้มี

                  ส่วนได้ส่วนเสียที่ส าคัญ หรือลูกค้าในอดีต เช่น ศิษย์เก่า และลูกค้าที่พึงมีในอนาคตเพื่อเพิ่มส่วนแบ่งตลาด
                  แนวทางที่ชัดเจนดังกล่าวจะช่วยในการสร้างและจัดการความสัมพันธ์กับผู้เรียนและผู้รับบริการ ที่ส่งผลต่อ

                  ความผูกพันของทั้งผู้เรียนและลูกค้าทุกกลุ่ม

                  Result Strength
                             1) มหาวิทยาลัยฯ แสดงผลลัพธ์ที่อยู่ในระดับดีกว่าปีที่ผ่านมาและมีแนวโน้มที่ดี เช่น รายได้เฉลี่ย

                  ต่อเดือนของผู้ส าเร็จการศึกษาระดับต่ ากว่าปริญญาและปริญญาตรีที่ได้งานท า สะท้อนการผลิตบัณฑิตที่
                  สามารถตอบสนองต่อความต้องการของชุมชน สังคม และมีความเป็นพลเมืองโลก

                  Result OFI

                             1) มหาวิทยาลัยฯ ไม่ได้แสดงผลลัพธ์ที่ส าคัญของกระบวนการท างานที่ส าคัญหลายเรื่อง ได้แก่
                  ผลลัพธ์ที่สะท้อน Digital Economy, Hands On, Internationalization ผลลัพธ์ด้านความรับผิดชอบต่อ

                  สังคมทั้งในด้านการอนุรักษ์ทรัพยากรและการเป็น Green University การสนับสนุนชุมชนส าคัญหรือ

                  ผู้ประกอบการ และผลลัพธ์ด้านการตลาด ได้แก่ ส่วนแบ่งการตลาดทั้งในด้านการเรียนการสอน การบริการ

                  วิชาการและการวิจัย การติดตามผลลัพธ์ดังกล่าวอย่างต่อเนื่องจะช่วยให้องค์กรทราบผลการด าเนินงานเพื่อช่วย

                  ให้เกิดการปรับปรุงการด าเนินการให้บรรลุพันธกิจอย่างแท้จริง
                             2) มหาวิทยาลัยไม่ได้แสดงผลลัพธ์จ าแนกตามพื้นที่จัดการศึกษา กลุ่มผู้รับบริการ และตาม

                  ประเภทบุคลากร เช่น ผลลัพธ์การด าเนินงานด้านความพึงพอใจของผู้เรียนและลูกค้ากลุ่มอื่น การมุ่งเน้น

                  บุคลากรในวิทยาเขตต่าง ๆ เพื่อช่วยให้เกิดการปรับปรุงการด าเนินการในความต้องการที่หลากหลายได้
                             เมื่อพิจารณาผลการประเมินฯ เป็นค่าร้อยละของคะแนนที่ได้เทียบกับคะแนนเต็ม จ าแนกตาม

                  รายข้อก าหนดพื้นฐาน (Basic Requirements) พบว่า ข้อ 1.1 การน าองค์กรโดยผู้น าระดับสูง และ ข้อ 4.2

                  การจัดการความรู้ สารสนเทศ และเทคโนโลยีสารสนเทศ มีคะแนนมากที่สุด เท่ากับ ร้อยละ 15 รองลงมา
                  จ านวน 12 ข้อก าหนดพื้นฐาน คือ ข้อ 1.2 การก ากับดูแลและความรับผิดชอบต่อสังคม ข้อ 2.1 การจัดท ากล

                  ยุทธ์ ข้อ 2.2 การน ากลยุทธ์ไปสู่การปฏิบัติ ข้อ 3.1 เสียงของลูกค้า ข้อ 3.2 ความผูกพันของลูกค้า ข้อ 4.1 การ
                  วัด การวิเคราะห์ และปรับปรุงผลการด าเนินการขององค์กร ข้อ 5.1 สภาพแวดล้อมในการท างาน ข้อ 5.2

                  ความผูกพันของบุคลากร ข้อ 7.1 ผลลัพธ์ด้านการเรียนรู้ของผู้เรียนและด้านกระบวนการ ข้อ 7.2 ผลผลัพธ์

                  ด้านการมุ่งเน้นลูกค้า ข้อ 7.3 ผลลัพธ์ด้านการมุ่งเน้นบุคลากร และ ข้อ 7.5 ผลลัพธ์ด้านงบประมาณ การเงิน
                  และตลาด เท่ากับ ร้อยละ 10 ส่วนข้อ 6.1 กระบวนการท างาน ข้อ 6.2 ประสิทธิผลการปฏิบัติการ และ ข้อ

                  7.4 ผลลัพธ์ด้านการน าองค์กร และการก ากับดูแล มีคะแนนน้อยที่สุด เท่ากับ ร้อยละ 5 (ดังรูปที่ 2)

                            Annual Report of Quality Assurance and Assessment : fiscal year 2019
   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24